ความรับผิดส่วนแรก (Deductible)

เวลาซื้อประกันสุขภาพหลายคนมักจะได้ยินคำว่า ความรับผิดชอบส่วนแรก บางคนยังไม่รู้ว่าความรับปิดส่วนแรกคืออะไร คือส่วนที่เราจะต้องจ่ายเองก่อนรึป่าว ซื้อแผนนี้แล้วจะคุ้มหรอ เพราะอยากได้ประกันสุขภาพที่ไม่ต้องมาจ่ายเองก่อนหรืออยากได้เป็นวงเงินความคุ้มครองเยอะๆ ที่เหมาจ่ายไม่ต้องมาจ่ายส่วนเกิน มาทำความรู้จักจักกับความหมายของ “ความรับผิดส่วนแรกกันครับ” ความรับผิดส่วนแรกคือค่าใช้บางส่วนที่เราจะต้องจ่ายก่อนเมื่อ รพ.เรียกเก็บ และส่วนที่เกินก็มาใช้จากประกันที่เป็นแบบมีความรับผิดส่วนแรก โดยความความรับส่วนแรกเท่าไหร่ขึ้นอยู่กับแผนที่เลือกไม่เท่ากัน เช่น เข้ารักษาตัวตัวด้วยผ่าตัดไส้ติ่งหมดค่าใช้จ่าย 100,000 บาทลูกค้าเลือกทำแผนที่มีความรับส่วนแรก 30,000 บาทก็จะต้องจ่ายเงิน 30,000 บาทส่วนอีก 70,000 บาทบริษัทจะจ่ายให้ ไม่อยากจ่ายความรับผิดส่วนแรกก่อนต้องทำยังไง ส่วนใหญ่แล้วลูกค้าที่จะเลือกทำแผนแบบมีความรับผิดส่วนแรกจะมีแผนประกันสุขภาพอยู่ก่อนจะมีประกันกลุ่มหรือประกันสุขภาพส่วนตัวก็ได้ เมื่อเข้าโรงพยาบาลก็เลือกใช้ส่วนนั้นให้มาจ่ายในความรับผิดส่วนแรกก่อนและส่วนที่เกินก็มาใช้แผนที่ซื้อเพิ่มที่มีความรับปิดส่วนแรก ซึ่งตัวแทนมักจะถามกับลูกค้าเสมอว่ามีประกันสุขภาพอยู่บ้างหรือยัง ถ้ายังไม่มีก็จะไม่แนะนำให้ทำแบบมีความรับผิดส่วนแรกเพราะจะต้องมาส่วนก่อน เลือกเป็นแบบเหมาจ่ายตั้งแต่บาทแรกเลยจะดีกว่า เลือกแบบมีความรับผิดส่วนแรกดียังไง ข้อดีอย่างแรกเลยก็คือเบี้ยจะถูกกว่าแบบจ่ายเต็มตั้งแต่บาทแรก เหมาะสำหรับคนที่มีประกันอยู่ก่อนและไม่อยากยกเลิกแผนเดิมแต่ค่าห้อง ค่ารักษามีไม่พอ มาทำแผนตัวนี้เพิ่ม ข้อดีข้อที่ 2 คือแบบมีความรับผิดส่วนแรกได้ใช่คู่ได้ทั้งประกันกลุ่มของบริษัทหรือประกันส่วนตัวของบริษัทอื่นที่มีอยู่แล้วไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นของเมืองไทยประกันชีวิตเท่านั้น ข้อดีข้อที่ 3 คือทั้งตัวประกันชีวิตสัญญาหลักหรือสุขภาพก็สามารถใช้ลดหย่อนภาษีได้ แผนแบบมีความรับผิดส่วนแรกมีแบบไหนบ้าง? ประกันสุขภาพแบบมีความรับผิดส่วนแรกจะมีอยู่ 2 แผนคือ แผนเอ็กซ์ตร้าแคร์พลัส และ แผนดีเฮลท์ แบบมีคสามรับผืดส่วนแรก สองแผนนี้จะต่างกันที่ เอ็กซ์ตร้าแคร์ พลัส มีความรับผิดส่วนแรก 20,000 บาท ส่วนดีเฮลท์มีความรับส่วนแรกเริ่มต้นที่ […]

7 ขั้นตอนยื่นภาษีออนไลน์ปี 2564

ขั้นตอนที่ 1 เตรียมเอกสารให้พร้อม  บัตรประชาชน (เพื่อดูเลขหลังบัตร) เอกสารแสดงรายได้ หนังสือรับรองเงินเดือน (ทวิ 50) ทุกช่องทางรายได้ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีของบริษัท จำนวนภาษีที่ถูกหักไว้ของแต่ละช่องทางรายได้ รายการลดหย่อนส่วนตัว เช่น คู่สมรส, บิดา มารดา, ผู้พิการ, ค่าคลอดบุตร เอกสารค่าลดหย่อน เช่น เบี้ยประกัน, กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ, กองทุนรวม (SSF/RMF) อื่นๆ ขอแนะนำว่าให้ทำตาราง Excel และนำรายได้ทั้งหมด และค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน ไปเติมก่อนเพราะบางท่านอาจจะมีหลายได้หลายแหล่ง ในแบบฟอร์มกรอกรายได้ของสรรพากรจะให้กรอกรายได้รวม ถ้าเป็นตัวเลขที่ไม่ลงตัว เช่น บริษัทแรกรายได้ 567,890 บริษัทที่ 2 มีรายได้ 123,000 บาท ถ้ากดบวกเองในเครื่องคิดเลขอาจจะกดผิดได้ สำหรับค่าลดหย่อนก็ให้รวมด้วยเหมือนกัน เช่น บางท่านอาจจะมีประกันชีวิตหลายเล่มก็ต้องนำมารวมกันเป็นยอดเดียว เพราะฉะนั้นเติมตัวเลขใน Excel และรวมค่าออกมาจะชัวร์กว่า ขั้นตอนที่ 2 ยืนยันตัวตนและตรวจสอบข้อมูล หลังจากที่เตรียมข้อมูลเรียบร้อยแล้ว เข้าไปเว็บไซต์ของ สรรพากร […]

Guru ชวนรู้เทคนิคสร้างธุรกิจแฟรนไชส์

“ระบบแฟรนไชส์ถ้าเราทำถูกต้องมันจะยั่งยืน เราจะเห็นธุรกิจแฟรนไชส์ขนาดใหญ่ ทำไมข้ามโลกทั้งใบได้ ปกติแล้วมันโตเร็วกว่า 3 เท่า ถ้าเราเริ่มพัฒนาธุรกิจเดียวๆ กัน” แฟรนไชส์ โมเดลช่วยธุรกิจขยายในต้นทุนต่ำกว่า แฟรนไชส์ต้องอาศัยจำนวนเพราะจำนวนทำให้เกิด Marketing Power การออกแบบ การเชื่อมโยงของธุรกิจเข้าหากันโดยใช้สาขาและกระจายสาขาออกไปเป็นจำนวนมากจะทำให้เกิดความได้เปรียบแล้วทำให้ต้นทุนของธุรกิจต่ำกว่าคู่แข่งได้ทันที กำไรจะหนากว่า New Normal ส่งผลต่อระบบแฟรนไชส์ 2 ด้าน เราเรียกว่า Business Dsign หรือการออกแบบธุรกิจที่ต้องตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค อีกสิ่งหนึ่งที่เปลียนคือเรื่องของ Franchise Model ต้องพลิกให้มองเห็นความชัดเจนในการทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ SME แบบไหนเหมาะขยายเป็นแฟรนไชส์ ธุรกิจแฟรนไชส์ต้องผ่านขั้นตอนที่เรียกว่า Profitability คือตัวของธุรกิจเองต้องมีกำไรก่อน SME เล็กๆ ต้องให้ความสำคัญกับการสร้างกำไรในระดับสาขาให้ผ่านก่อนแล้วมาดูในแง่ของบริษัทแม่ที่อาจจะมีหลายสาขา ว่าอยู่รอดได้จริงไหม ไม่ใช่ว่าอยู่ยังไม่ได้ ร้านที่มีอยู่ก็ยังขาดทุนแต่ข้ามขั้นไปขายแฟรนไชส์ พอมาแก้ทีหลังทำให้เสีเวลาและเสียเงินเยอะกว่าที่ออกแบบดีๆ ตั้งแต่แรก การเปลี่ยนแปลงจะกระทบต่อภาพรวมธุรกิจอย่างมาก ถ้าระบบหลังบ้านไม่ดีก็ยากที่จะสำเร็จ แฟรนไชส์เหมือนระบบสายพานแบ่งงานกันระหว่าง แฟรนไชส์ซี กับแฟรนไชส์ซอ ที่ต้องเชื่อมกันโดยจะขาดขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งไม่ได้ แต่ที่ธุรกิจแฟรนไชส์ไม่ประสบผลสำเร็จเพราะว่าการทำธุรกิจแบบตัวใครตัวมัน เช่น แฟรนไชส์ซอหรือเจ้าของธุรกิจทำลูกชิ้นออกมาแล้วก็ขายแค่ลูกชิ้น ให้แฟรนไชส์ซีเอาลูกชิ้นไปทอดขายเอง ไม่ได้มีความเชื่อมโยง และไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน ต่างคนต่างก็ไม่พึ่งพากัน […]

“ATM Tea Bar” ย่านสยามสแควร์ ร้านชานมยุค 4.0

+++++ ที่มาที่ไป +++++ สวัสดีครับทุกคน ถ้าวันนี้คุณเป็นคนหนึ่งมีความฝันว่าอยากมีธุรกิจเป็นของตัวเองเหมือนกับคนอื่นๆ แต่ยังไม่รู้ว่าจะต้องเริ่มยังไงมาติดตามบทความนี้ไปด้วยกันนะครับ ผมเป็นคนหนึ่งที่มีความฝันอยากมีธุรกิจเป็นของตัวเองทำให้ชอบเรียนรู้ อ่านและดูเกี่ยวพวกคลิปสอนหรือบทความเกี่ยวกับการตลาด การขาย การทำธุรกิจมาตั้งแต่ไหนแต่ไร และวันนี้ผมก็เจองานและธุรกิจที่ผมชอบและนั้นก็คือ… ธุรกิจประกันชีวิตนั้นเอง ความชอบส่วนตัวที่ชอบเรียนรู้ก็อยากทำนำความรู้ที่ได้มาแชร์ต่อให้กับทุกคน โดยสิ่งที่ได้ไปศึกษามาก็คือ ความรู้ในการทำธุรกิจต่างๆ เผื่อว่าจะเป็นไอเดียให้คนที่ติดตามนำไปต่อยอดหรือปรับใช้ให้เข้ากับตัวเองโดยเป็นคลิปความรู้ธุรกิจจาก ธนาคารกสิกรไทย หัวข้อ “กลยุทธ์ธุรกิจ…รู้แล้วรวย” ครับ ++++++++++ ATM Tea Bar ย่อมาจากคำว่า A Tea Moment ที่ตั้งชื่อนี้เพราะต้องการให้ลูกค้าคนที่มาดื่มชามีโมเมนต์ดีๆ ในการดื่มชา ซึ่งเป็นร้านชานมไข่มุกแนวใหม่ที่มีเครื่องรับออเดอร์เป็นของตัวเองและเป็นชานมไข่มุกที่มีวัตถุดิบจากต่างที่อื่น โดยปกติชานมไข่มุกทั่วไปส่วนมากจะใช้เป็นครีมเทียมผสม คนชอบมองว่าเป็นเครื่องดื่มที่ไม่ดีต่อสุขภาพ ทางร้านจึงอยากพัฒนาสูตรที่แตกต่างโดยใช้วัตถุดิบที่เป็นธรรมชาติล้วนๆ ใช้เป็นนมสดทั้งหมดและวัตถุดิบอื่นๆ ก็คัดสรรมาอย่างดีเป็นธรรมชาติทั้งหมด Concept ATM Tea Bar การตั้งชื่อร้าน ATM Tea Bar ย่อมาจากคำว่า A Tea Moment โดยเอาอักษรย่อมาตั้งให้เป็นกิมมิกของร้านและทำเป็นเครื่องรับออเดอร์ที่คล้ายกับเครื่อง ATM ที่ลูกค้าสามารถกดเลือกเมนูก่อนที่จะมาชำระเงิน สามารถปรับความหวานหรือปรับ Topping ได้ตามต้องการ เมนู […]

ประกันสะสมทรัพย์สำหรับอาชีพฟรีแลนซ์หรือพนักงานบริษัท

สวัสดีครับทุกคน ถ้าพูดถึงอาชีพฟรีแลนซ์หรือพนักงานบริษัทที่ไม่ได้มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้ออมเงินหลายคนยังไม่รู้ว่าจะไปออมเงินยังไงดีเพื่อไว้ใช้หลังเกษียณ เพราะปกติแล้วพนักงานบริษัท ก็จะได้สวัสดิการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่บริษัทมีให้ ถ้าเราเป็นสมาชิกและให้บริษัทหักเงินเดือนไว้ออม บริษัทก็จะออมให้อีกเท่านึงเท่ากับเงินของเรามากกว่านั้น เท่ากับว่าผลตอบแทนที่เราได้นั้นคือ 100% เลยทีเดียว นี้ยังไม่รวมผลตอบแทนของการลงทุนจากเงินของเราและเงินของบริษัทอีกที่มีโอกาสได้มากกว่าเดิม ส่วนตัวเลือกการออมเงินของคนทำงานฟรีแลนซ์หรือพนักงานบริษัทที่อยากออมเพิ่มหรือไม่ได้มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้ เช่น กองทุนการออมแห่งชาติ ของกระทรวงการคลัง, กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF), กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) หรือประกันแบบบำนาญ ซึ่งแต่ละตัวก็มีข้อดีที่ต่างกันออกไป “เมืองไทย รีไทร์เมนท์พลัส 60” ตัวช่วยการออมเพื่อการเกษียณ ลองฟังจากชื่อแผนแล้วหลายคนคงคิดว่าเป็นประกันแบบบำนาญเพราะมีคำว่า รีไทร์เมนท์ แต่จริงๆ แล้วแผนนี้เป็นแบบสะสมทรัพย์หรืออมทรัพย์ที่ช่วยวางแผนการออมเงินตั้งแต่วันนี้ และรับเงินคืนทั้งตอนที่จ่ายเบี้ยและหลังจากอายุ 60 ปีเป็นต้นไปจนถึงอายุ 90 ปี “เมืองไทย รีไทร์เมนท์พลัส 60” แผนนี้ดียังไง 1. ผลตอบแทนสูงเมื่อเทียบกับประกันสะสมทรัพย์ทั่วไป เพราะผมได้ลองคำนวณผลตอบแทน (IRR) ของ ผู้ชายตามช่วงอายุ ดังนี้ อายุ 30 ปีผลตอบแทนประมาณ 3.63% อายุ 35 ปีผลตอบแทนประมาณ 3.55% อายุ 40 ปีผลตอบแทนประมาณ […]

1 9 10 11 12 13 50