SSF หรือ RMF เลือกแบบไหนดีเพื่อลดหย่อนภาษี

ในทุกๆ ปีนอกจากเราทุกคนจะได้สิทธิลดหย่อนภาษีการทำประกันชีวิตสะสมทรัพย์และประกันแบบบำนาญแล้ว ยังมีสิทธิอื่นๆ ที่เราสามารถลงทุนเพื่อใช้ลดหย่อนภาษีได้อีก เช่น กองทุนเพื่อการออม (SSF) และกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) มาดูความแตกต่างระหว่างกองทุนทั้ง 2 ประเภทกันเลย กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) SSF ย่อมาจากคำว่า Super Savings Fund ชื่อภาษาไทยคือ “กองทุนรวมเพื่อการออม” เป็นกองทุนรวมเพื่อส่งเสริมการออมระยะยาว โดยได้สิทธิ์ลดหย่อนภาษี ลงทุนได้หลายประเภทเหมือนกองทุนรวมทั่วไป ซึ่งมีความเสี่ยงที่แตกต่างกัน เช่น หุ้นพันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้บริษัทเอกชน หน่วยของกองทุนโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Fund) หน่วยของกองทุนอสังหาริมทรัพย์(Property Fund) รวมถึงกองทุนต่างประเทศ ซื้อได้ไม่เกิน 30% ของรายได้ทั้งปี และไม่เกิน 200,000 บาท โดยเมื่อรวมกับกองทุนการออม เพื่อการเกษียณอื่นๆ ต้องไม่เกิน 500,000 บาท  เช่น กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนบำเน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ประกันแบบบำนาญ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) RMF […]

เปรียบเทียบกองทุน SSFX กับ SSF

เปรียบเทียบกองทุน SSFXกับ SSF หลังจากกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) ที่หมดประโยชน์เรื่องสิทธิลดหย่อนภาษีเมื่อสิ้นปี 2562 ไป รัฐบาลก็ได้ออกกองทุนตัวใหม่มาชื่อว่า กองทุนเพื่อการออม (SSF) และไม่นานมานี้ก็ได้ออกกอทุนพิศษชื่อว่า กองทุนเพื่อการออมพิเศษ (SSFX) ในช่วงการระบาดของโควิด-19 มาดูว่ากองทุน SSFX กับ SSF ว่ามีความเหมือน ความแตกต่างกันตรงไหนบ้าง กองทุนเพื่อการออมพิเศษ (SSFX) – SSFX ย่อมาจากคำว่า Super Savings Fund Extra ชื่อภาษาไทยคือ “กองทุนเพื่อการออมพิเศษ” กองทุนลดหย่อนภาษีพิเศษ ที่มีกำหนดระยะเวลาซื้อหน่วยลงทุนได้ระหว่างเดือนเมษายน – มิถุนายน 2563 เท่านั้น – ลงทุนในหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 65% ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (NAV) สามารถนำมาหักลดหย่อนภาษีสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท (ไม่รวมกับวงเงินซื้อหน่วยลงทุนกองทุน SSF แบบปกติ) – มีวงเงินลดหย่อนภาษีเพิ่มเติมอีก 200,000 บาท ไม่รวมกองทุน SSF […]

กองทุนรวมเพื่อการออม ชนิดเพื่อการออมพิเศษ (SSFX)

เปิดขายแล้ว กองทุนรวมเพื่อการออม ชนิดเพื่อการออมพิเศษ (SSFX) โดยมีเงื่อนไขดังนี้ – เปิดขาย 1 เมษายน – 30 มิถุนายน 2563 – ซื้อเพื่อลดหย่อนภาษีได้ไม่เกิน 200,000 – เป็นกองทุนที่ลงหุ้นไทยไม่น้อย 65% – มีระยะเวลาการถืออย่าง10ปี นับจากวันซื้อ – ไม่จำเป็นต้องซื้อต่อเนื่องทุกปี ซื้อปีไหนใช้ลดหย่อนปีนั้น เรื่องที่เกี่ยวข้อง กองทุนลดหย่อนภาษีปี 2563 กองทุนรวมเพื่อการออม ชนิดเพื่อการออมพิเศษ (SSFX) เปรียบเทียบกองทุน SSFX กับ SSF ข้อมูลกองทุนรวมของ บลจ. ต่างๆ บลจ. บัวหลวง SSFX/SSF : https://www.bblam.co.th/products/mutual-funds/9176 RMF : https://www.bblam.co.th/products/mutual-funds/retirement-mutual-fund บลจ. กรุงไทย SSFX/SSF/RMF : https://www.ktam.co.th/rmf-ltf.aspx บลจ. กรุงศรี SSFX/SSF : https://www.krungsriasset.com/TH/FundGroupDetail.html?gid=2767 RMF : https://www.krungsriasset.com/TH/FundGroupDetail.html?gid=113 บลจ.กสิกร […]

เอ็กตร้าแคร์ พลัส เพิ่มค่าห้องและค่ารักษา

ไม่มีงบสำหรับซื้อประกันสุขภาพแผนค่ารักษาสูง แต่อยากได้ค่าห้องสูง เมืองไทยประกันชีวิตทำได้ ด้วยเบี้ยที่ถูกว่า เคยเจอไหมครับอยากได้ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่ารักษาสูง ให้พอกับนอนโรงพยาบาลเอกชน แต่ตัวแทนบอกต้องซื้อแผนค่ารักษาพยาบาลสูงเพราะแผนค่ารักษาพยาบาลสูงจะได้ค่าห้องสูงด้วย ทำให้เบี้ยแพงขึ้น ทั้งๆที่เราคิดว่าไม่จำเป็นต้องเอาค่ารักษาสูงขนาดนั้น อยากประหยัดเบี้ยแต่เพิ่มค่าห้อง เมืองไทยประกันชีวิตช่วยได้ สัญญาเพิ่มเติมเอ็กตร้าแคร์ พลัส เพิ่มค่าห้องให้ให้เริ่มต้นที่ 2,000 บาท ไม่พอแค่นั้นยังได้ครับค่ารักษาพยาบาลเพิ่มอีก 200,000 บาท เบี้ยถูกกว่าซื้อประกันสุขภาพแผนค่าห้องสูง ตัวอย่าง พี่มีประกันสุขภาพอยู่แล้ว ได้ค่าห้อง 3,000 บาท แต่ รพ. ที่เข้ารักษาค่าห้อง 5,000 บาททำให้มีค่าห้องส่วนเกิน 2,000 บาทต่อครั้ง จะซื้อประกันสุขภาพแผน ค่าห้อง 2,000 บาทเพิ่มก็ต้องจ่ายเพียยทั้งแผนเดิมและแผนใหม่ หรือจะซื้อประกันสุขภาพแผนใหม่แผนค่าห้อง 5,000 บาทก็เบี้ยแพง มา Top up ด้วยเอ็กตร้าแคร์พลัส เบี้ยประหยัดกว่า ได้ทั้งค่าห้อง ได้ทั้งค่ารักษาพยาบาล แผน 1 ค่าห้อง 2,000 บาท – เงินประกันกรณีเสียชีวิต 200,000 บาท […]

5 ข้อที่ได้เรียนรู้ จากสถานการณ์โรคระบาด

ขอยกสโลแกนใหม่ของเมืองไทยประกันชีวิตที่ว่า สุขหรือทุกอยู่ที่มุมมอง “Happiness Means Everything เพราะความสุขคือทุกอย่าง” มาพูดถึงในช่วงไวรัสระบาดแบบนี้หน่อยครับ เชื่อว่าหลายคนคงทุกข์มากกว่าสุขกันอยู่ แต่อย่ามัวแต่ทุกข์อย่างเดียว ลองมองหาว่าจากเหตุการณ์นี้เราได้เรียนรู้อะไรบ้าง เพื่อที่จะได้นำไปเป็นบทเรียนและประสบการณ์ในวันข้างหน้ากันครับ 1) เงินสำรองฉุกเฉินสำคัญมาก ถ้าใครติดตามเพจนี้คงจะเคยได้ยินผมพูดถึงเงินสำรองฉุกเฉินบ่อยๆ ที่ผมยกเรื่องนี้มาเล่าเพราะครั้งนึงตัวเองเคยเป็นคนที่ใช้เงินแบบไม่คิด ได้เงินมาก็ใช้จนหมด ไม่ได้คิดจะเป็นเพราะเงินเดือนมีเข้ามาทุกเดือน ทำงานก็เหนื่อยแล้วขอใช้ก่อน วันนึงเป็นหนี้บัตรเครดิต กลายเป็นว่าเงินเดือนที่ได้ต้องเอาไปใช้ค่าบัตร แล้วก็มีรายจ่ายที่จำเป็นจริงๆ เข้ามา ตอนนั้นมืดแปดด้านไปหมด ไปยืมคนอื่นก็ไม่กล้าเพราะโตๆ กันแล้ว หลังจากเริ่มหาวิธีใช้หนี้ได้หมด ตอนนี้ไม่ว่าจะซื้อจอะไรก็จะคิดก่อน เพราะไม่อยากไปอยู่จุดนั้นอีก ศึกษาวิธีวางแผนการเงินจนรู้ว่าวิธีการที่จะมีเงินใช้แบบไม่ติดขัด มีเงินใช้แบบสบาย มีเงินใช้ยามที่รายได้ไม่แน่นอน ก็คือเราต้องมีเงินสำรองฉุกเฉินสักก้อน ถามว่าทำไมต้องมีเงินสำรองขอยกตัวอย่าง เช่น วันนึงถ้าเราขับรถไปแล้วยางแตกต้องเปลี่ยนยาง ถ้าไม่มีเงินสำรองตรงนี้จะเอาเงินที่ไหน วันนึงถ้าตกงานแบบไม่ทันตั้งตัว ถ้าไม่มีเงินสำรองตรงไหนจะเอาเงินที่ไหนมาใช่ วันที่เจ็บป่วยต้องไปหาหมอจะเอาเงินที่มาเป็นค่ารักษา 2) ประกันสุขภาพคือสิ่งจำเป็น นอกจากเงินที่ต้องมีแล้ว สุขภาพก็ต้องดีด้วยเหมือนคำคมที่ว่า ไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ ถ้าเรามีเงินมากมายแต่สุขภาพไม่ดีก็คงไม่มีความสุขเพราะไม่มีอารมณ์ที่จะไปใช้เงินใช้ หลายคนอาจจะคิดว่าวันนี้อายุยังไม่เยอะ สุขภาพยังแข็งแรง ยังไม่มีความเสี่ยง ซึ่งก็เป็นความคิดที่ถูก แต่อยากจะบอกว่าบางโรคไม่ได้รอให้อายุเยอะถึงจะเป็น วัย 30 ต้นๆ ตอนนี้ก็ตรวจเจอโรคมากมาย ตัวอย่างเพื่อนวัยเดียวกันกับผมตรวจเจอซีสที่มดลูก 2-3 […]

1 35 36 37 38 39 58